ชุดสยามพากษ์ ลำดับที่ 6
(มีหลายคุณสมบัติให้เลือก)
8 บทความที่เขียนขึ้นตามความสนใจของแต่ละบุคคล บางบทมีความเกี่ยวเนื่องกับงานของนิธิ บางบทไม่เกี่ยว การเรียงลำดับบทความในเล่มไม่เกี่ยวกับว่าเรื่องใดสำคัญมากกว่าเรื่องใด เกณฑ์มีเพียงง่าย ๆ คือหยิบเรื่องประวัติศาสตร์ขึ้นมาก่อน
ไขความกระจ่างของรัฐชาติ สำรวจประวัติศาสตร์จากอดีตถึงปัจจุบัน ทำความเข้าใจรัฐไทยสมัยใหม่ที่เป็นมรดกของสมบูรณาญาสิทธิราชย์ภายใต้เงื่อนไขกึ่งอาณานิคม
(มีหลายคุณสมบัติให้เลือก)
ท่ามกลางข้อมูลอันมหาศาล หนังสือเล่มนี้ได้ประมวลข้อมูลออกมาอย่างเป็นระบบ และนำเสนอการวิเคราะห์ที่ซับซ้อนหลากหลายมิติ ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจการเมืองในในยุค 2490 อย่างทะลุปรุโปร่ง
ชุดว่าด้วยประวัติศาสตร์ไทย วิธีวิทยาทางประวัติศาสตร์ เส้นทางประชาธิปไตยไทย หรือแม้กระทั่งว่าด้วย 6 ตุลาคม ที่เป็นส่วนหนึ่ง ในชีวิตของผู้เขียนมาตีพิมพ์ออกมาเป็นเล่มเฉพาะ
ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ / พระพรหมช่วยอำนวยให้ชื่นฉ่ำ / นี่คือปณิธานที่หาญมุ่ง / จวบจันทร์แจ่มฟ้านภาผ่อง
หนังสือชุดสยามพากษ์เป็นงานที่ต้องอ่านไม่ว่าจะเห็นพ้องต้องกัน หรือไม่ก็ตาม
บทความชุดของปิยบุตร แสงกนกกุล ที่ออกมามีทั้ง รัฐธรรมนูญ: ประวัติศาสตร์ข้อความคิด อำนาจสถาปนา และการเปลี่ยนผ่าน และศาลรัฐประหาร : ตุลาการ ระบอบเผด็จการ และนิติรัฐประหาร ผลงานชิ้นถัดไป ที่จะรอออกมาเป็นรูปเล่มในอนาคต คือชุดรัฐประหาร
รวมความเรียงว่าด้วยวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ต้นรัตนโกสินทร์
รวมบทความของปิยบุตร แสงกนกกุล ว่าด้วย “รัฐธรรมนูญ” และแนวความคิดของ “นักกฎหมายรัฐธรรมนูญ”
วารสารฟ้าเดียวกัน ฉบับ 18/2 : อ่านใหม่พระปฐมบรมราชโองการ
สรุปรวบยอดทางความคิดเกี่ยวกับ “การปฏิวัติสยาม”
งานวิชาการรางวัล ถึงการเคลื่อนไหวทางการเมืองในไทยช่วง 50 ปีที่่ผ่านมา
หลายบทความอ่านสนุกและออกจะแหวกแนวจากหัวข้อที่ธงชัยให้ความสนใจ
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการขยายตัวทางธุรกิจและรายได้ของสำนักงานทรัพย์สินฯ ได้แก่ลักษณะของการเป็นผู้ผูกขาดน้อยรายของบริษัทในเครือที่สำคัญ (คือปูนซีเมนต์ไทยและ ธ.ไทยพาณิชย์) การเกาะกลุ่มทางธุรกิจในรูปของการถือหุ้นระหว่างบริษัทและการควบคุมการบริหาร และการเกาะกลุ่มกรรมการและการเป็น "หน่วยงาน" ของสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่มีสถานภาพพิเศษและได้รับการคุ้มครอง
(มีหลายคุณสมบัติให้เลือก)
ท่ามกลางข้อมูลอันมหาศาล หนังสือเล่มนี้ได้ประมวลข้อมูลออกมาอย่างเป็นระบบ และนำเสนอการวิเคราะห์ที่ซับซ้อนหลากหลายมิติ ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจ การเมืองในในยุค 2490 อย่างทะลุปรุโปร่ง
ศิลปะและศิลปินแห่งรัชสมัยรัชกาลที่ 9
โฉมหน้าราชาชาตินิยม คือการรวมบทความว่าด้วยประวัติศาสตร์ของธงชัย วินิจจะกูล ที่มีประเด็นแวดล้อมแนวคิดเรื่องราชาชาตินิยมเก่า/ใหม่
รวมบทความว่าด้วยประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ของธงชัย วินิจจะกูล ที่เขียนขึ้นระหว่างปี 2547-2555 ในฐานะนักประวัติศาสตร์ ธงชัยได้คลี่ให้เห็นเค้าโครงประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยไทยแบบเป็นกระแสซ้อนกัน โดยดูจากประวัติศาสตร์ในช่วงยาว ซึ่งเริ่มจากการสร้างรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในสมัยรัชกาลที่ 5 มาจนถึงประชาธิปไตยแบบอำมาตย์ ท่ามกลางวิกฤติการเมืองเหลือง-แดงที่ยังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน
ไม่ว่าจะเป็นการเล่นกับขนบ หรือหาเรื่องท้าทายขนบก็ยิ่งดี เพราะประวัติศาสตร์ควรเป็นความรู้เพื่อสร้างวุฒิภาวะของ citizen ควรเป็นหนทางของอารยชน จึงไม่ควรมีประวัติศาสตร์ที่เป็นอันตรายทำร้ายผู้คนอีก
การศึกษาความทรงจำ 6 ตุลาที่เปลี่ยนแปลงไปก็คือ การเขียนประวัติศาสตร์ของปีศาจที่รบกวนสำนึกทางสังคม..จนกว่าจะถึงจุดที่ความทรงจำอันอิหลักอิเหลื่อนั้นปิดฉากลง เพื่อจะสามารถก้าวต่อไปข้างหน้าได้อย่างมั่นใจ
ไม่ว่าเราจะเป็นผู้ยกย่องชนชั้นนำในประวัติศาสตร์อย่างไม่ลืมหูลืมตา เป็นคนไทยที่หากไม่เกลียดชังก็ดูถูกประเทศเพื่อนบ้าน เป็นคนกรุงที่มองตัวเองสูงส่งดูถูกกีดกันสิทธิของคนบ้านนอก ว่าด้วยคนอื่นของความเป็นไทยเล่มนี้จะชักนำให้เราต้องทบทวนตัวตนพวกนี้ใหม่หมด
"ปฏิปักษ์ปฏิวัติ 2475" ผ่านการเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ หรือประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยไทยแบบใหม่เพื่อคลี่ให้เห็นถึงความคิดและ ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มอนุรักษนิยมหรือกลุ่มกษัตริย์นิยมที่เป็นกลุ่ม พลังทางการเมืองที่สำคัญภายหลังการปฏิวัติ 2475
"นี่คือปณิธานที่หาญมุ่ง : ข้อถกเถียงว่าด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ในองค์กรจัดทำรัฐธรรมนูญของไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475-2550" เล่มนี้ เป็นผลงานของ "สมชาย ปรีชาศิลปกุล" และเป็นหนังสือเล่มที่ 3 ของ "ชุด กษัตริย์ศึกษา"