Perfect for longtime fans and those meeting the little prince for the first time!
หนังสือเกี่ยวกับนกนั้นจะเป็นการเริ่มต้นให้เด็ก ๆ หัดสังเกตธรรมชาติรอบตัวเรา สามารถไล่ชื่อนกตามพยัญชนะไทยได้เกือบครบ
Have you have ever felt at a disadvantage when joining in a conversation on a subject that you aren't confident about? If yes, this new book series is for you
คนไทยรู้จักวรรณคดีสันสกฤตหลายเรื่อง และใช้ศึกษาหรืออ่านเพื่อความบันเทิงจนถึงปัจจุบัน ทำให้การเรียนรู้วรรณคดีที่มาจากวัฒนธรรมต่างชาติ มีความจำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานพอสมควร
6,000 ปีที่ดำเนินผ่านบทสนทนาระหว่างถ้อยคำ ผู้คน และชีวิต นับตั้งแต่มนุษย์เริ่มถอดความหมายผ่านดวงตา ละเลียดสุนทรียะแห่งการอ่านตามลำพัง เสพมนตร์ขลังของการอ่านออกเสียง ต่อยอดสู่การอ่านเพื่อทำนายอนาคต การกำเนิดหอสมุดยุคโบราณโดย “นักบัญญัติจักรวาล” ตลอดจนการพลิกแพลงโวหารผ่านงานแปลอันรุ่มรวย
ความเรียงว่าด้วยเหตุผลที่ประกอบขึ้นรูปด้วยถ้อยคำแห่งกวีนิพนธ์โดยแท้
ว่าด้วยการตีความศิลปะและวรรณกรรมฝรั่งเศสผ่านแนวคิดจิตวิเคราะห์
วรรณกรรมแฟนตาซี ที่ได้รับการยกย่องว่าดีที่สุด
หนังสือที่เป็นมากกว่าการ์ตูน! เป็นหนังสือตีแผ่ และเสียดสีระบบการศึกษาไทยอย่างมีอารมณ์ขัน
วรรณกรรมล่าสุดจาก Arundhati Roy ผู้เขียนเทพเจ้าแห่งสิ่งเล็กๆ หนังสือรางวัล Booker Prize
โรแบร์ท มูซิล (Robert Musil, 1880-1942) เป็นนักประพันธ์ชาวออสเตรียที่มีชีวิตคาบเกี่ยวอยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ความล่มสลายของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และการขึ้นมามีอำนาจครอบงำของลัทธินาซี ผลงานเล่มนี้เป็นการรวมข้อเขียนคัดสรรจาก Posthumous Papers of a Living Author ซึ่งเป็นผลงานตีพิมพ์ชิ้นสุดท้ายก่อนที่เขาจะเสียชีวิตกระทันหันด้วยโรคเลือดออกในสมอง
"ดวงตาเห็นคำ" ได้ทำหน้าที่ในการรวบรวมเอาคำที่เห็นผ่าน ๆ ตา และมีความสนุกสนาน บ้างสะกดผิด-ถูก บ้างใช้คำผิดความหมาย หรือบางคำก็สื่อถึงนัยยะอื่น ๆ ให้ได้ตีความกันอย่างสนุกสนาน โดยเฉพาะสั่งห้าม หรือคำสั่งให้ทำบางสิ่งบางอย่าง ก็ถูกเก็บรวบรวมเอาไว้ในหนังสือเล่มนี้
มิชชั่นเร่งรัดภาษาอังกฤษ ฉบับโรแมนติกคอเมดี้
คัดสรรความแสบ จากเรื่องราวแซ่บ ๆ ในวรรณคดี
ภาษา: ถอดรหัสมหัศจรรย์การสื่อสารของมนุษย์ คือใบเบิกทางสู่โลกของ “ภาษาศาสตร์” ศาสตร์แห่งภาษาที่ช่วยให้เราเข้าใจมนุษย์ และช่วยให้มนุษย์เข้าใจภาษา นี่คือหนังสือที่จะเปิดเผยความมหัศจรรย์เบื้องหลังภาษาที่เราใช้อยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน และแสดงให้เห็นว่าแท้จริงแล้ว ภาษานั้นมิใช่ “กำแพง” แต่เป็น “สะพาน” ที่เชื่อมมนุษยชาติไว้ด้วยกัน